MATHEMATIC EXPEIENCES FOR EARLY CHIKDHOOD
แฟ้มสะสมผลงาน รายวิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
บันทึกครั้งที่17
- รูปเลขาคณิต คือ รูปวงกลม รูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม
- ขนาด คือ ใหญ่ กลาง เล็ก
- นับจำนวน คือ จำนวนรูปเลขาคณิต จำนวนสมาชิกใน
- เปรียบเทียบ คือ ขนาด รูปจัดกลุ่ม แยกประเภท คือ สี ขนาด รูป
2. วิธีสอน
ขั้นนำ- ร้องเพลง 1 2 3 1 2 3 เพลงเก็บเด็ก
- แจกรูปเลขาคณิตให้เด็ก คนละ 1 ชิ้น ให้เด็กๆส่งต่อๆกันไปจนถึงคนสุดท้าย
ขั้นสอน
- ครูจะร้องเพลง ลมเพลมพัด ให้เด็กทำตามคำสั่งที่ครูบอก เช่น ให้จัดกลุ่มที่มีรูปเลขาคณิตเหมือนกัน
- ครูให้เด็กนับจำนวนสมาชิกในกลุ่มของตนเอง
- ครูให้เด็กเปรียบเทียบขนาดของรูปเลขาคณิต (ต้องมีตารางเปรียบเทียบให้เด็กเห็นได้ชัดเจน)
- ให้เด็กนำรูปเลขาคณิตมาวางต่อๆกันตามจิตนาการของเด็กๆ
- ให้เด็กเก็บรูปเลขาคณิตให้เรียบร้อย ตามลำดับก่อนหลัง
ขั้นสรุป
- ครูและเด็กๆช่วยกันสรุป เรื่องที่เรียนมีอะไรบ้าง
- สรุปเป็น Mind Map ลงบนกระดาด
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอน
- ไม่ควรให้เด็กลุกขึ้นมาหยิบรูปเลขาคณิตเอง ทำให้เกิดความวุ่นวายครูจะครบคุมเด็กไม่ได้ ควรส่งต่อๆกัน
- ควรมีตารางเปรียบเทียบขนาด ที่จัดเจนเด็กจะได้รูปว่ารูปเลขาคณิตของตัวเองมีขนาดไหน
จับกลุ่มที่มีรูปเลขาคณิตเหมือนกัน
เปรียบเทียบขนาดของรูปเลขาคณิต
นับจำนวนรูปเลขาคณิต
บันทึกครั้งที่16
อาจารย์สอนเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งการเรียนรู้ของเด็กนั้นโดยการใช้ประสาทสัผัสทั้ง 5 ผ่านการกระทำ และ การเล่นก็เป็นวิธีการเรียนรู้อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งก่อนที่เด็กจะทำแบบฝึกหัดได้นั้นควรให้เด็กได้เห็นของจริง ครูควรกระตุ้นเด็กอยู่เสมอเพื่อให้เด็กได้สนุกสนานในการทำกิจกรรมโดยการใช้คำถาม และอาจารย์ได้สาธิตในการนำสื่อมา เช่น ปากกา 5 ด้าม ในการเรียนรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์นั้นเราต้องนำมาให้เด็กได้นับ 1-5 ซึ่งนับทีละด้าม
- อาจารย์นัดสอบ ให้นำสื่ออะไรก็ได้มาสาธิตการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บันทึกครั้งที่15
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554
วิเคราะห์สื่อเกมการศึกษาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- เกม จับคู่ปลา วิธีการเล่น จับคู่จำนวนปลาตามที่กำหนด ขอบข่าย นับจำนวน จับคู่ แยกประเภท
- เกมอุปกรณ์เครื่องใช้ วิธีการเล่น จับกลุ่มสิ่งของ ประเภทเดียวกัน ให้สมบูรณ์ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ แยกประเภท จัดกลุ่ม นับจำนวน
- เกม จับคู่ภาพสัตว์ วิธีการเล่น โดยให้หาภาพส่วนบน ส่วนล่างของสัตว์สมบูรณ์ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ จับคู่ นับจำนวน แยกประเภท
- เกมจิ๊กซอหน่วยฝนจ๋า วิธีการเล่น ต่อภาพให้สมบูรณ์ ขอบข่ายคณิตศาตร์ นับจำนวนของภาพ
- เกม จิ๊กซอหน่วยดอกไม้ วิธีการเล่น นำภาพมาต่อกันให้สมบูรณ์ ขอบข่ายคณิตศาสตร์ นับจำนวน
วิเคราะห์ขอบข่าย วิธีการเล่น มีการสนทนามีการสนทนาซักถามในห้องเรียน มีเกมการศึกษามากมาย
อาทิเช่นวิเคราะห์สื่อ (เกมการศึกษา)
- เกมจับคู่ภาพสัตว์
- เกมจับคู่รอยเท้า
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูปผีเสื้อ
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูคนข้ามถนน
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูปฝนตก
- เกมต่อภาพจำนวนที่เท่ากัน
- เกมพื้นฐานการบวก
- เกมจับคู่ภาพแบบอุปมาอุปไมย
- เกมจัดหมวดหมู่ภาพ ด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลัง
- เกมจับคู่ภาพซ้อน
- เกมจับคู่ภาพที่แทนด้วยสัญลักษณ์
บันทึกครั้งที่14
วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
บันทึกครั้งที่13
- อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
- ให้คิดหน่วยการเรียนรู้กลุ่มละหน่อย
- ให้แตกหน่วยเป็น Mind Map
- และแตกออกเป็นขอบข่ายของคณิตศาสตร์ไปใช้ในกิจกรรม
- ให้คิดกิจกรรมการสอนเป็น 4 วัน
- เขียนแผนการจัดประสบการณ์
Mind Map หน่วย ข้าว ขอบข่ายของคณิตศาตร์
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
- การนับ
- ตัวเลข
- การจับคู่
- การคำนวณ
- การเปรียบเทียบ
- การจัดลำดับ
- รูปทรงเเละเนื้อที่
- การวัด
วันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2554
บันทึกครั้งที่ 12
คำศัพท์ที่เด็กควรทราบ ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การวัดเครื่องเวลาหลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเองหลักการทางคณิตศาสตร์ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็กและขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจ
หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง เช่น เพลง